แถลงการณ์ เรื่อง การทำหน้าที่ของสื่อมวลชนในสถานการณ์ความขัดแย้ง ตามที่ได้มีการจัดชุมนุมทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จนนำไปสู่การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในท้องที่กรุงเทพมหานคร
Read More »พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ฉบับใหม่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 16 เม.ย. 62
“พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๒”
ดาวน์โหลด พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ฉบับที่ ๓
ข้อมูลจาก www.ratchakitcha.soc.go.th
“คู่มือการใช้สมาร์ทโฟนในงานข่าวและงานด้านวารสารศาสตร์” *ตีพิมพ์ในหนังสือรายงานประจำปี สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย เผยแพร่เมื่อ ก.ย. 2561*
‘โกศล สงเนียม’ ได้รับเลือกเป็นประธานสภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย สมัยที่ 4 โดยมี วรินทร์ เทียมจรัส รองประธานคนที่ 1 และ ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย รองประธานคนที่ 2 พร้อมด้วยคณะกรรมการตำแหน่งอื่นๆ อีก 16 คน
เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย แถลงจุดยืนต่อกรณี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือให้สื่อโทรทัศน์สถานีต่างๆ เตรียมตัวลงพื้นที่เพื่อนำเสนอข่าวและสกู๊ปข่าวพิเศษภารกิจของรัฐมนตรีแต่ละท่านระหว่างลงพื้นที่ในการประชุม ครม.สัญจร
วันนี้(23 มิ.ย. )ที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ(กสทช.) นายฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการกสทช. เปิดเผยว่า
บอร์ดกสท.เล็งปล่อยช่องดาวเทียมที่เหลือออกอากาศระบุหากเจอการทำผิดกฎหมายโฆษณาอาหาร-ยา โทษหนักขึ้นกว่าเดิม
นาง สาวสุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) วันที่ 23 มิ.ย.57 จะมีการพิจารณาแจ้งยืนยันผู้ประกอบการทีวีดาวเทียมที่ยังไม่ได้รับอนุญาตจาก กสทช. ภายหลังการอนุญาตตามประกาศ คสช.
เมื่อวันอังคารที่ 21 พฤษภาคม 2556 สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย และสภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ ร่วมต้อนรับ ดร. ธวัชชัย จิตรภาษ์นันท์ อนุกรรมการพัฒนาวิชาชีพ (กสทช.)
สภาวิชาชีพสื่อจับมือสภาทนายความฯ ลงนามความร่วมมือ ช่วยเหลือนักข่าวที่ถูกดำเนินคดีจากการปฏิบัติหน้าที่โดยสุจริต ส่งเสริมการทำหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ ยึดมั่นจริยธรรม
กระแสความตื่นตัวของ”ดิจิทัลทีวี”ในบ้านเรากำลังไต่เพดานสูงขึ้นๆ จนพอจะกล่าว ได้ว่าบรรยากาศแบบนี้เหมาะอย่างยิ่งกับการขับเคลื่อนการเปลี่ยนผ่านระบบการออกอากาศแบบเดิม”อนาล็อก”ให้ไปสู่ระบบ”ดิจิทัล”ให้เดินหน้าไปอย่างรวดเร็ว ยากต่อการเหนี่ยวรั้งไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่สุดในรอบ 50 ปีของวงการโทรทัศน์ไทย
นักวิชาการสื่อ จี้ กสทช.เปิดรับฟังความคิดเห็นดึงภาคประชาสังคม ร่วมออกเกณฑ์ใบ อนุญาตทีวีดิจิทัลสาธารณะ ชี้ เอ็มโอยูแจก คลื่นไทยพีบีเอส 2 ช่อง “ไม่แฟร์” ด้าน “สุภิญญา”เสนอกทค. ใช้โมเดลไทยพีบีเอส ตั้งคณะกรรมการนโยบายคุม ป้องกันอิทธิพลการเมือง “ประวิทย์”ชงกำหนดเพดานเวลาโฆษณา
เมื่อวันที่ 20 มี.ค.2556 น.ส.สุภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ในฐานะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) เปิดเผยว่า ในการประชุม กสท. ในวันที่ 25 มี.ค.2556 คาดว่าจะมีการพิจารณาว่าจะอัพเกรดการส่งคลื่นความถี่สถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ช่อง 11 และไทยพีบีเอส จากระบบอนาล็อกไปเป็นระบบดิจิตอลเลย ซึ่งจะทำให้ใบอนุญาตประกอบกิจการ (ไลเซ่นส์)